บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2020

วิธีดูแลอารมณ์ให้คงที่ เพื่อการมีสุขภาพจิตที่ดี

รูปภาพ
วิธีดูแลอารมณ์ให้คงที่ เพื่อการมีสุขภาพจิตดี ไม่เครียด ไม่ซึมเศร้า เคล็ดลับวิธีดูแลอารมณ์ให้คงที่ เพื่อการมีสุขภาพจิตดี ไม่เครียด ไม่ซึมเศร้า  นอกจากสาวๆ จะต้องให้ความสำคัญในเรื่อง สุขภาพ ร่างกายให้แข็งแรงและห่างไกลจากอาการเจ็บป่วยแล้ว อารมณ์ของตัวเองก็ถือเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องได้รับการดูแลให้คงที่ด้วยเช่นกัน  ถึงแม้ว่าสถานการณ์ที่แตกต่างจะส่งผลทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ แต่การควบคุมมันให้คงที่ก็ช่วยให้สุขภาพจิตดีด้วยเช่นกัน มาลองดู 8 วิธีดูแลอารมณ์ของตัวเองที่เรานำมาแบ่งปันให้สาวๆ กันค่ะ 1.เคลื่อนไหวร่างกาย การเคลื่อนไหวร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นการออกกำลังกายหรือการทำโยคะ ล้วนมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองอารมณ์ และการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างมีสติมีส่วนช่วยในการดึงตัวเองออกจากวงจรความคิดนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี 2.เดินเล่นข้างนอก การให้เวลาตัวเองออกไปเดินเล่นข้างนอกในช่วงพักกลางวันหรือช่วงที่พอมีเว ลาว ่าง ถือเป็นการรีเฟรชอารมณ์ของตัวเองให้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะใครที่เครียดกับการทำงาน แนะนำให้พาตัวเองออกไปเดินเล่นข้างนอกสัก 10-15 นาทีก็ช่วยผ่อนคลายร่างกายและอารมณ์ได้แล้ว  3.ดูแลสุขภาพ ในส่วนขอ

อาการเป็นยังไง 4 อาการเสี่ยง "ออฟฟิศซินโดรม"

รูปภาพ
อาการเป็นยังไง 4 อาการเสี่ยง ออฟฟิศซินโดรม มีวิธีแก้ยังไง ? แน่นอนว่าอาการปวดคอบ่าไหล่นั้นเป็นอาการหลักของโรคออฟฟิศซินโดรม แต่หารู้ไม่ว่ายังมีโรคอื่นๆอีกหลายโรคที่มีอาการคล้ายคลึงกัน ส่งผลทำให้เกิดการเข้าใจผิด และละเลยมองข้าม ปล่อยให้อาการนั้นๆ เป็นเรื้อรัง จนส่งผลให้เกิดอันตราย และจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดได้  เราควรจะต้องรู้อาการบางอย่างที่คล้ายกัน แต่เกิดจากโรคอื่นๆ เพื่อที่จะได้รู้ว่าตนเองนั้นอาจจะไม่ได้เป็นออฟฟิศซินโดมเท่านั้น แต่อาจจะเป็นโรคอื่นที่ควรจะรีบได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและทุพพลภาพ ที่อาจเกิดขึ้นได้ อาการที่สำคัญของ "ออฟฟิศซินโดรม" นพ.เกรียงศักดิ์ เล็กเครือสุวรรณ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการเสี่ยงของออฟฟิศซินโดรม ดังนี้ ชา  อาการชาเป็นหนึ่งในอาการหลักที่มักจะทำให้เกิดความสับสนระหว่างโรคออฟฟิศซินโดมและโรคกระดูกคอเสื่อมทับเส้นประสาท โดยตำแหน่งและเวลาที่ทำให้เกิดอาการชานั้นมีความสำคัญในการวินิจฉัย หากผู้ป่วยมีอาการชาเป็นมากขึ้นและร้าวลงไปตั้งแต่ต้นแขนถึงปลายแขน บางร